Tuesday, January 30, 2007 |
เห็นกวางเขียน food blog โดยได้ไอเดียจากพี่แจ ก็เลยจะลองเขียนดูบ้าง แต่คงไม่ทำต่อเนื่อง แค่ทำตามกระแสสนุกๆ
วันเสาร์ที่ 27 มกราคม 2550
> pre-breakfast: Frappuccino Mocha หนึ่งขวด, Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> breakfast: banana muffin @ Cate School [ขอบคุณน้องแหวน]
> lunch: ข้าวผัดหมู @ ร้าน Your Place
> afternoon snacks: 1/2 bag of Taro [ขอบคุณแก้ว], In-N-Out french fries
> dinner: ข้าวหน้าปลาไหล, ไอติมชาเขียว @ ร้าน Itsuki
> midnight: Vitamilk
วันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม 2550
> pre-breakfast: Double Shot, Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> breakfast: Vitamilk ในรถ
> lunch: กระเพราไข่เยี่ยวม้า กุ้งแช่น้ำปลา คอหมูย่าง พะแนงไก่ @ ร้านเรือนแพ
> afternoon snack: orange smoothies @ Kodak Theatre
> dinner: fish tempura @ Oomasa in Little Tokyo
> evening snack: 1 cookie @ บ้านพี่น้ำมน
> midnight: chocolate cup cake (from Nijiya Market in Little Tokyo)
วันจันทร์ที่ 29 มกราคม 2550
> pre-brunch: Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> brunch: กระเพราเป็ด จากร้านรสเด็ด
> afternoon snack: a box of p'Nammon's cookies [ขอบคุณพี่น้ำมน]
> dinner: ไข่เจียวหมูสับ แกงเป็ดย่าง ปลาเปรี้ยวหวาน ลาบไก่ หมูผัดกะหล่ำ หมี่กรอบ ไอติมกะทิ & กล้วยทอด @ ร้าน Your Choice [ขอบคุณคุณพ่อคุณแม่น้องจ๊อบ :)]
วันอังคารที่ 30 มกราคม 2550
> breakfast: Double Shot, Vitamilk, Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> lunch: 1.5 portions of กระเพราขาหมู
> dinner: หมูผัดผัก (homemade), another Vitamilk, another 500mg of vitamin C
วันเสาร์ที่ 27 มกราคม 2550
> pre-breakfast: Frappuccino Mocha หนึ่งขวด, Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> breakfast: banana muffin @ Cate School [ขอบคุณน้องแหวน]
> lunch: ข้าวผัดหมู @ ร้าน Your Place
> afternoon snacks: 1/2 bag of Taro [ขอบคุณแก้ว], In-N-Out french fries
> dinner: ข้าวหน้าปลาไหล, ไอติมชาเขียว @ ร้าน Itsuki
> midnight: Vitamilk
วันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม 2550
> pre-breakfast: Double Shot, Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> breakfast: Vitamilk ในรถ
> lunch: กระเพราไข่เยี่ยวม้า กุ้งแช่น้ำปลา คอหมูย่าง พะแนงไก่ @ ร้านเรือนแพ
> afternoon snack: orange smoothies @ Kodak Theatre
> dinner: fish tempura @ Oomasa in Little Tokyo
> evening snack: 1 cookie @ บ้านพี่น้ำมน
> midnight: chocolate cup cake (from Nijiya Market in Little Tokyo)
วันจันทร์ที่ 29 มกราคม 2550
> pre-brunch: Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> brunch: กระเพราเป็ด จากร้านรสเด็ด
> afternoon snack: a box of p'Nammon's cookies [ขอบคุณพี่น้ำมน]
> dinner: ไข่เจียวหมูสับ แกงเป็ดย่าง ปลาเปรี้ยวหวาน ลาบไก่ หมูผัดกะหล่ำ หมี่กรอบ ไอติมกะทิ & กล้วยทอด @ ร้าน Your Choice [ขอบคุณคุณพ่อคุณแม่น้องจ๊อบ :)]
วันอังคารที่ 30 มกราคม 2550
> breakfast: Double Shot, Vitamilk, Centrum, 500mg of vitamin C @ my bed
> lunch: 1.5 portions of กระเพราขาหมู
> dinner: หมูผัดผัก (homemade), another Vitamilk, another 500mg of vitamin C
Thursday, January 25, 2007 |
คนไทยใช้กระดาษขนาด A4 (210 x 297 mm)
คิดเป็นพื้นที่ 62370 mm^2
คนอเมริกันใช้กระดาษขนาด letter (216 x 279 mm)
คิดเป็นพื้นที่ 60264 mm^2
(ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Paper_size)
กระดาษ letter ขนาดกว้างกว่า แต่สั้นกว่า
โดยรวมแล้วพื้นที่น้อยกว่า A4
น่าแปลกที่ว่าเวลาเราเอากระดาษ A4 ใส่แฟ้ม (แบบที่มีขายในประเทศไทย) เราเจาะรูเพียงแค่ 2 รู แต่แฟ้มในอเมริกาสำหรับกระดาษ letter บังคับให้เจาะรูถึง 3 รู
- กระดาษ A4 ในแฟ้ม 2 รู คิดเป็น 31185 mm^2 ต่อรู
- กระดาษ letter ในแฟ้ม 3 รู คิดเป็น 20088 mm^2 ต่อรู
ดังนั้นก็แสดงว่ากระดาษในแฟ้มแบบไทยมีโอกาสที่จะขาดและหลุดออกจากแฟ้มได้ง่ายกว่ากระดาษในแฟ้มแบบอเมริกัน
...
ก็เป็นอันว่า ในเรื่องของขนาดกระดาษและจำนวนรูในแฟ้ม ผมขอยกย่องอเมริกา แต่ในเรื่องของหน่วยการชั่ง-ตวง-วัด อื่นๆ เช่น
- ฟุต/ยาร์ด/ไมล์ vs. เซนติเมตร/เมตร/กิโลเมตร
- ฟาเรนไฮต์ vs. เซลเซียส
- pint/quart/gallon vs. ลิตร
ผมยังมองไม่เห็นว่าอเมริกาเลือกใช้หน่วย (บ้าๆ) เหล่านี้ไปทำไม???
เฮ่อ แต่ก็ยังดี อย่างน้อยเขาก็ยังบอกเวลากันเป็น วินาที นาที ชั่วโมง วัน ...
ไม่อย่างนั้นคงปรับตัวเข้าหากันยากกว่านี้!
คิดเป็นพื้นที่ 62370 mm^2
คนอเมริกันใช้กระดาษขนาด letter (216 x 279 mm)
คิดเป็นพื้นที่ 60264 mm^2
(ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Paper_size)
กระดาษ letter ขนาดกว้างกว่า แต่สั้นกว่า
โดยรวมแล้วพื้นที่น้อยกว่า A4
น่าแปลกที่ว่าเวลาเราเอากระดาษ A4 ใส่แฟ้ม (แบบที่มีขายในประเทศไทย) เราเจาะรูเพียงแค่ 2 รู แต่แฟ้มในอเมริกาสำหรับกระดาษ letter บังคับให้เจาะรูถึง 3 รู
- กระดาษ A4 ในแฟ้ม 2 รู คิดเป็น 31185 mm^2 ต่อรู
- กระดาษ letter ในแฟ้ม 3 รู คิดเป็น 20088 mm^2 ต่อรู
ดังนั้นก็แสดงว่ากระดาษในแฟ้มแบบไทยมีโอกาสที่จะขาดและหลุดออกจากแฟ้มได้ง่ายกว่ากระดาษในแฟ้มแบบอเมริกัน
...
ก็เป็นอันว่า ในเรื่องของขนาดกระดาษและจำนวนรูในแฟ้ม ผมขอยกย่องอเมริกา แต่ในเรื่องของหน่วยการชั่ง-ตวง-วัด อื่นๆ เช่น
- ฟุต/ยาร์ด/ไมล์ vs. เซนติเมตร/เมตร/กิโลเมตร
- ฟาเรนไฮต์ vs. เซลเซียส
- pint/quart/gallon vs. ลิตร
ผมยังมองไม่เห็นว่าอเมริกาเลือกใช้หน่วย (บ้าๆ) เหล่านี้ไปทำไม???
เฮ่อ แต่ก็ยังดี อย่างน้อยเขาก็ยังบอกเวลากันเป็น วินาที นาที ชั่วโมง วัน ...
ไม่อย่างนั้นคงปรับตัวเข้าหากันยากกว่านี้!