Thursday, January 25, 2007 |
คนไทยใช้กระดาษขนาด A4 (210 x 297 mm)
คิดเป็นพื้นที่ 62370 mm^2
คนอเมริกันใช้กระดาษขนาด letter (216 x 279 mm)
คิดเป็นพื้นที่ 60264 mm^2
(ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Paper_size)
กระดาษ letter ขนาดกว้างกว่า แต่สั้นกว่า
โดยรวมแล้วพื้นที่น้อยกว่า A4
น่าแปลกที่ว่าเวลาเราเอากระดาษ A4 ใส่แฟ้ม (แบบที่มีขายในประเทศไทย) เราเจาะรูเพียงแค่ 2 รู แต่แฟ้มในอเมริกาสำหรับกระดาษ letter บังคับให้เจาะรูถึง 3 รู
- กระดาษ A4 ในแฟ้ม 2 รู คิดเป็น 31185 mm^2 ต่อรู
- กระดาษ letter ในแฟ้ม 3 รู คิดเป็น 20088 mm^2 ต่อรู
ดังนั้นก็แสดงว่ากระดาษในแฟ้มแบบไทยมีโอกาสที่จะขาดและหลุดออกจากแฟ้มได้ง่ายกว่ากระดาษในแฟ้มแบบอเมริกัน
...
ก็เป็นอันว่า ในเรื่องของขนาดกระดาษและจำนวนรูในแฟ้ม ผมขอยกย่องอเมริกา แต่ในเรื่องของหน่วยการชั่ง-ตวง-วัด อื่นๆ เช่น
- ฟุต/ยาร์ด/ไมล์ vs. เซนติเมตร/เมตร/กิโลเมตร
- ฟาเรนไฮต์ vs. เซลเซียส
- pint/quart/gallon vs. ลิตร
ผมยังมองไม่เห็นว่าอเมริกาเลือกใช้หน่วย (บ้าๆ) เหล่านี้ไปทำไม???
เฮ่อ แต่ก็ยังดี อย่างน้อยเขาก็ยังบอกเวลากันเป็น วินาที นาที ชั่วโมง วัน ...
ไม่อย่างนั้นคงปรับตัวเข้าหากันยากกว่านี้!
คิดเป็นพื้นที่ 62370 mm^2
คนอเมริกันใช้กระดาษขนาด letter (216 x 279 mm)
คิดเป็นพื้นที่ 60264 mm^2
(ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Paper_size)
กระดาษ letter ขนาดกว้างกว่า แต่สั้นกว่า
โดยรวมแล้วพื้นที่น้อยกว่า A4
น่าแปลกที่ว่าเวลาเราเอากระดาษ A4 ใส่แฟ้ม (แบบที่มีขายในประเทศไทย) เราเจาะรูเพียงแค่ 2 รู แต่แฟ้มในอเมริกาสำหรับกระดาษ letter บังคับให้เจาะรูถึง 3 รู
- กระดาษ A4 ในแฟ้ม 2 รู คิดเป็น 31185 mm^2 ต่อรู
- กระดาษ letter ในแฟ้ม 3 รู คิดเป็น 20088 mm^2 ต่อรู
ดังนั้นก็แสดงว่ากระดาษในแฟ้มแบบไทยมีโอกาสที่จะขาดและหลุดออกจากแฟ้มได้ง่ายกว่ากระดาษในแฟ้มแบบอเมริกัน
...
ก็เป็นอันว่า ในเรื่องของขนาดกระดาษและจำนวนรูในแฟ้ม ผมขอยกย่องอเมริกา แต่ในเรื่องของหน่วยการชั่ง-ตวง-วัด อื่นๆ เช่น
- ฟุต/ยาร์ด/ไมล์ vs. เซนติเมตร/เมตร/กิโลเมตร
- ฟาเรนไฮต์ vs. เซลเซียส
- pint/quart/gallon vs. ลิตร
ผมยังมองไม่เห็นว่าอเมริกาเลือกใช้หน่วย (บ้าๆ) เหล่านี้ไปทำไม???
เฮ่อ แต่ก็ยังดี อย่างน้อยเขาก็ยังบอกเวลากันเป็น วินาที นาที ชั่วโมง วัน ...
ไม่อย่างนั้นคงปรับตัวเข้าหากันยากกว่านี้!
Comments:
<< Home
นี่เป็นเรื่องข้องใจมานานแล้ว แต่เพิ่งจะได้จังหวะมานั่งเขียน
ยังมีเรื่องไหนอีกนะที่ของอเมริกันดีกว่าของไทย?
ยังมีเรื่องไหนอีกนะที่ของอเมริกันดีกว่าของไทย?
อึม เป็นเพราะ English มันสะดวกกว่าป่าวอ่ะ ... ในเชิงช่างอ่ะ .... เพราะอย่างถ้าเราอ้างอิงถึง หุน เราจะบอกเป็น 1/2 1/4 3/4 5/16 อะไรอย่างเงี้ย มันจะทำให้เราสามารถประมาณระยะโดยแบ่งทุกอย่างทีล่ะครึ่ง มันจะประมาณได้ง่ายกว่า SI แต่คำนวณยากกว่า
กระดาษจากอเมริกาถูกส่งมาเมืองไทย...
แรกเริ่ม เข้าใจว่าคงเคยโดนใส่แฟ้มที่นู่น เลยเจาะมา 3 รู พอมาเมืองไทย เจ้ากระดาษแผ่นน้อยก็ต้องหลิ่วตาตามกระดาษ A4 พี่เบิ้มที่เมืองไทย เลยโดนเจาะใหม่อีก 2 รู เพื่อให้ใส่แฟ้มขนาดมาตรฐานประเทศไทยได้
ตอนนี้กระดาษแผ่นน้อยๆ เลยมีรูตั้ง 5 รู
แต่ที่ตลกคือ ตอนนี้แต่ละรูไม่รับน้ำหนักเลย เพราะกระดาษแผ่นนั้นโดนเอาไปใส่ในซองพลาสติกใส แปะไว้หน้าห้องทำงานเราอีกที :P
AimIsMad
แรกเริ่ม เข้าใจว่าคงเคยโดนใส่แฟ้มที่นู่น เลยเจาะมา 3 รู พอมาเมืองไทย เจ้ากระดาษแผ่นน้อยก็ต้องหลิ่วตาตามกระดาษ A4 พี่เบิ้มที่เมืองไทย เลยโดนเจาะใหม่อีก 2 รู เพื่อให้ใส่แฟ้มขนาดมาตรฐานประเทศไทยได้
ตอนนี้กระดาษแผ่นน้อยๆ เลยมีรูตั้ง 5 รู
แต่ที่ตลกคือ ตอนนี้แต่ละรูไม่รับน้ำหนักเลย เพราะกระดาษแผ่นนั้นโดนเอาไปใส่ในซองพลาสติกใส แปะไว้หน้าห้องทำงานเราอีกที :P
AimIsMad
ผมว่าที่อเมริกามันใช่หน่วย ชั่ง ตวง วัด พวกนั้น เพราะ มันต้องการใช้แตกต่างจากอังกฤษ แค่นั้นแหละ ตอนมันประกาศเอกราชของประเทศมัน เพื่อแสดงว่า
กูไม่ได้เป็นเมืองขึ้นมึง อะไรเงี้ย นะ ผมว่า
Post a Comment
กูไม่ได้เป็นเมืองขึ้นมึง อะไรเงี้ย นะ ผมว่า
<< Home